Citizenship (ภาษาไทย) บทที่ 2 (Part 4/4)

Citizenchic
27 Jun 202324:29

Summary

TLDRこのビデオ脚本では、2015年に国連が設定した持続可能な開発目標(SDGs)の17の目標について説明しています。貧困の根絶、飢えの解消、健康と福祉の向上、質の高い教育の提供、性別平等の促進など、多岐にわたる目標を概説。また、災害や気候変動、環境保護、経済成長、社会正義、平和と強力な制度の重要性も強調。脚本は、持続可能な社会の実現に向けた多様な取り組みと、個人や社会全体が直面する課題と対策を要約しています。

Takeaways

  • 🌐 联合国在2015年设立了17个可持续发展目标(SDGs),旨在到2030年实现。
  • 🏘️ 第一个目标是'无贫困',关注解决贫困问题,包括老年贫困、残疾人援助和失业问题。
  • 🍲 '零饥饿'目标旨在解决食物短缺和食物浪费问题,强调三分之一的食物被浪费。
  • 🏥 '良好健康与福祉'目标致力于降低儿童和孕产妇死亡率,预防疾病和促进健康生活。
  • 🎓 '优质教育'目标推动普及高质量教育,提倡终身学习,并通过在线平台如Coursera、EdX、Udemy等实现。
  • 👥 '性别平等'目标强调女性在政治、经济和社会中的地位提升,关注女性权益和机会平等。
  • 💧 '清洁水和卫生设施'目标关注全球水资源短缺问题,提倡清洁饮水和卫生条件的改善。
  • ⚡ '可负担的清洁能源'目标旨在提供可持续且经济的能源,减少对环境的影响。
  • 🏭 '工业、创新和基础设施'目标鼓励投资研发,减少工业对环境的影响,提高网络覆盖。
  • 🌳 '减少不平等'目标致力于减少国家间不平等,提高发展中国家在国际决策中的声音。
  • 🏙️ '可持续城市和社区'目标关注城市化带来的挑战,如拥挤、污染和基础设施需求。
  • 🛍️ '负责任消费和生产'目标提倡可持续的消费和生产模式,减少资源浪费和环境污染。
  • 🌡️ '气候行动'目标强调国际合作应对气候变化,发达国家支持发展中国家的气候行动。
  • 🐟 '水下生物'目标关注海洋生态保护,减少过度捕捞和海洋污染。
  • 🌿 '陆地生物'目标致力于保护生物多样性,防止土地退化和沙漠化。
  • ⚖️ '和平、正义和强大机构'目标推动建立公正的司法系统和打击腐败。
  • 🤝 '为目标合作'目标鼓励政府、私营部门和个人合作,共同实现可持续发展目标。

Q & A

  • 2015年、国連が設定した目標は何を称していますか?

    -2015年、国連は持続可能な開発目標(Sustainable Development Goals、SDGs)と呼ばれる目標を設定しました。

  • SDGsはいくつの目標から成り立っていますか?

    -SDGsは17の異なる目標から成り立っています。

  • 「No Poverty」の目標とは何を意味しますか?

    -「No Poverty」の目標は、貧困をゼロにすることを目指すものです。

  • 「Zero Hunger」の目的は何ですか?

    -「Zero Hunger」の目的は、飢えを排除し、食品の不足問題を解決することです。

  • 「Good Health and Well-being」の目標はどのようなものですか?

    -「Good Health and Well-being」の目標は、人々の健康と福祉の向上、また健康的な生活を保証することです。

  • 「Quality Education」の目標は何かを教えてください。

    -「Quality Education」の目標は、すべての人に質の高い教育の機会を提供することです。

  • 「Gender Equality」とはどのような目標ですか?

    -「Gender Equality」は、性别による平等を確保し、女性と男性が同じ機会を持つようにする目標です。

  • 「Clean Water and Sanitation」の目標はどのようなものですか?

    -「Clean Water and Sanitation」の目標は、清潔な水と sanitaion(衛生)の提供、そして水のサステイナブルな管理です。

  • 「Affordable and Clean Energy」の目標とは何を目指していますか?

    -「Affordable and Clean Energy」の目標は、誰もが負得起な清潔なエネルギーにアクセスできるようにすることです。

  • 「Decent Work and Economic Growth」の目標は教えてください。

    -「Decent Work and Economic Growth」の目標は、適切な働く環境の提供と経済成長の促進です。

  • 「Industry, Innovation and Infrastructure」の焦点は何ですか?

    -「Industry, Innovation and Infrastructure」は、産業の発展、革新、およびインフラの強化に焦点を当てています。

  • 「Reduced Inequalities」の目的は何ですか?

    -「Reduced Inequalities」の目的は、社会的、経済的不平等の減少を図ることです。

  • 「Sustainable Cities and Communities」の目標とは何ですか?

    -「Sustainable Cities and Communities」の目標は、持続可能な都市とコミュニティの建設、住民の質の向上です。

  • 「Responsible Consumption and Production」の焦点は何ですか?

    -「Responsible Consumption and Production」は、消費者と生産者が責任を持ってリソースを利用し、環境に優しい製品を生産することに焦点を当てています。

  • 「Climate Action」の目標は何を目指していますか?

    -「Climate Action」の目標は、気候変動に対処し、地球の未来を守ることです。

  • 「Life below Water」の重要性とは何ですか?

    -「Life below Water」は、水中生物の保護と海洋生態系の維持の重要性を強調しています。

  • 「Life on Land」の目標は何ですか?

    -「Life on Land」の目標は、陸上の生物多様性の保護と生態系の維持、そして森林や他の自然な生息地の保護です。

  • 「Peace, Justice and Strong Institutions」の焦点は何ですか?

    -「Peace, Justice and Strong Institutions」は、平和、公正、そして強力な制度の構築に焦点を当てています。

  • 「Partnerships for the Goals」の目的は何ですか?

    -「Partnerships for the Goals」の目的は、目標達成のための政府、企業、市民社会の間の協力関係の構築です。

Outlines

00:00

🌏 SDGs: 目標達成の国際問題

2015年に国連(United Nations)が掲げた持続可能な開発目標(Sustainable Development Goals、SDGs)について説明。17の目標が設定されており、貧困のゼロ、飢えのゼロ、健康と福祉、質の高い教育、性別平等、清潔な水と sanitization、安価で清潔なエネルギー、適切な仕事と経済成長、産業、革新、そしてインフラの話題が取り上げられ、それぞれの目標が社会に与える影響と現状を概説している。

05:03

📚 質の高い教育への道

教育の質に関する議論が展開され、持続可能な開発目標における教育の重要性が強調されている。ライフロング・エデュケーションの概念が紹介され、様々なプラットフォームでのオンライン教育の機会について触れられ、経済的背景や地域による教育の質の差、性別による教育の平等化の議論がなされている。

10:06

💧 清潔な水と sanitizationの課題

世界で直面している水不足の問題と、持続可能な開発目標における清潔な水と sanitizationの重要性が説明されている。水の再利用技術や、水の需要と供給のバランス、さらには新加坡の水リサイクルの事例が紹介され、将来に向けた水の管理の重要性が強調されている。

15:06

🌱 経済成長と持続可能なエネルギー

適切な仕事と経済成長、産業、革新、インフラの話題が扱われ、経済の持続可能な発展を促進するための取り組みが議論されている。また、清潔なエネルギーへのアクセスと、その価格のアクセスibilitätが重要視され、インドの部分地区での調理方法とその健康への影響が触れられている。

20:07

🏙️ 持続可能な都市とコミュニティ

都市化と持続可能なコミュニティの重要性が議論され、都市部における貧困や環境汚染、インフラの不足の問題が説明されている。都市部での自然災害のリスクや、持続可能な都市計画の取り組みが紹介され、都市の安全と公共サービスの提供の重要性が強調されている。

🛍️ 責任ある消費と生産

責任ある消費と生産の概念が紹介され、持続可能な開発目標におけるリソースの有効な使用と廃棄物の管理が議論されている。アジア特に中国における中間層の拡大と消費の増加、それに伴う環境への影響が説明され、消費文化の変化が求められている。

🌡️ 気候変動と国際協力

気候変動問題とそれに対応するための国際協力の重要性が説明され、持続可能な開発目標におけるclimate actionの取り組みが議論されている。Greta Thunbergのような活動家のように、気候変動問題に対する国際的な関心が高まっている現状が触れられ、持続可能な開発に向けた取り組みの必要性が強調されている。

🐟 漁業と海洋生態系の保護

海洋生態系と漁業の持続可能性が議論され、海洋の酸性化、過剰漁業、船舶による汚染の問題が説明されている。海洋資源の管理と保護の重要性が強調され、消費者に対する漁業の持続可能性についての認識の向上が求められている。

🌲 陸生生態系の保護

陸生生態系の保護と生物多様性の維持が議論され、地球の土壌と生態系の損失、砂漠化、気候変動の影響が説明されている。生物多様性の維持と生態系サービスの重要性が強調され、持続可能な開発目標に向けた自然保護の取り組みが求められている。

⚖️ 社会正義と強固なインSTITUTIONS

社会正義、平和、強固なインSTITUTIONSの重要性が議論され、持続可能な開発目標における法的平等と公正な裁判のアクセスが強調されている。司法制度の信頼性と効率性の不足、人権、情報公開、政府の透明性、汚職問題が触れられ、持続可能な開発に向けた制度改革の必要性が示されている。

🔗 目標達成のためのパートナーシップ

持続可能な開発目標の達成に向けた多方面的なパートナーシップの重要性が説明され、政府、民間企業、市民社会の協力が議論されている。金融、技術、コミュニケーション、貿易の分野における協力が強調され、開発された国と開発途上国の間の格差を縮め、持続可能な発展を促進するための取り組みが示されている。

🌱 社会起業家精神と持続可能なイニシアチブ

社会起業家精神と持続可能なイニシアチブの取り組みが紹介され、社会問題や環境問題を解決するためのビジネスモデルが議論されている。社会企業の概念や、環境に配慮した製品やサービス、教育、テクノロジーの活用が触れられ、持続可能な開発に向けた多様な取り組みの重要性が強調されている。

Mindmap

Keywords

💡持続可能な開発目標(SDGs)

持続可能な開発目標(Sustainable Development Goals、SDGs)は、2015年に国連が設定した17の目標を指し、2030年までに達成することが目指されるグローバルな目標です。このビデオでは、これらの目標がどのように社会の様々な問題に関連しているかが説明されています。例えば、極度の貧困や飢え、健康や教育の質、性別平等、清潔な水とトイレ、経済成長などが言及されています。

💡貧困(No Poverty)

貧困は、SDGsの1つで、社会の貧困問題を解決することを目指しています。ビデオでは、貧困が引き起こす様々な問題、例えば高齢者の生活保障、障害者の支援、母親の出産後の権利などについて触れられています。これは、持続可能な社会を築く上で重要な議題と言えるでしょう。

💡飢え(Zero Hunger)

飢えのゼロ化は、SDGsの中でも重要な目標の1つで、世界中の飢え問題を解決することを目指しています。ビデオでは、食品浪費(Food Waste)の問題にも言及しており、1/3の食品が廃棄されるという驚くべき事実を紹介しています。これは、持続可能な開発の中で、資源の無駄を減らすためにも重要な問題です。

💡健康と福祉(Good Health and Well-being)

健康と福祉は、SDGsの核心的な目標の一つで、人々が健康で幸せな生活を送れるようにすることを目指しています。ビデオでは、若者の死亡率、母親の出産時の死亡率、HIV/AIDSなどの感染症の防止など、健康に関する具体的な指標が挙げられています。

💡教育の質(Quality Education)

教育の質は、持続可能な開発において重要な役割を果たし、ビデオでは、教育に対するアクセスや、ライフロング・エデュケーション(Life Long Education)の重要性が強調されています。また、経済的背景による学習成果の格差にも触れられており、教育が社会の平等を促進する手段であることが示唆されています。

💡性別平等(Gender Equality)

性別平等は、SDGsの中で重要な目標で、女性と男性が平等な権利と機会を持つことが求められます。ビデオでは、政治やビジネスのリーダーシップにおける女性の割合が依然として低いという現実に言及し、法律や社会構造の変革が必要なと示しています。

💡清潔な水とトイレ(Clean Water and Sanitation)

清潔な水とトイレは、SDGsの目標の一つで、世界中の人々が安全な水と適切なトイレにアクセスできるようにすることを目指しています。ビデオでは、将来的水不足問題や、シンガポールなどの国が行っている水の再利用技術などについて説明しています。

💡経済成長と適正な働く環境(Decent Work and Economic Growth)

経済成長と適正な働く環境は、SDGsの中で重要な目標で、持続可能な経済成長や、適切な働く環境の提供を目指しています。ビデオでは、失業や労働品質、金融サービスへのアクセス、GDPの成長などについて触れられています。

💡産業、革新、インフラ(Industry, Innovation and Infrastructure)

産業、革新、インフラは、持続可能な開発を促進するために重要な目標で、産業の成長や革新、そしてインフラの強化を目指しています。ビデオでは、研究開発への投資や、環境への影響を減らす取り組み、そして情報通信技術へのアクセスなどが重要であると強調されています。

💡不平等の削減(Reduced Inequalities)

不平等の削減は、SDGsの目標の一つで、国内外の不平等を減らすことを目指しています。ビデオでは、国際的な権利や声を持つ機会の平等、開発途上国が国際決定に参加する機会の増大などについて言及しており、これは持続可能な開発において社会の包括性を実現するために不可欠な要素です。

Highlights

สถาบันสหประชาชาติ (United Nations) ได้กำหนดเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals หรือ SDGs) 17 ประการในปี 2015

SDGs ประกอบด้วยเป้าหมายหลากหลายที่ครอบคลุมความยากจน อาหาร สุขภาพ การศึกษา เท่าเทียมทางเพศ น้ำและความสะอาด ฯลฯ

ปัญหาความยากจน (No Poverty) ยังคงเป็นปัญหาสำคัญในสังคมที่ต้องการแก้ไข

Zero Hunger ขจัดความหิวโหย และปัญหา Food Waste ที่มีผลกระทบต่อสังคมอย่างกว้างขวาง

Good Health and Well-being ความสำคัญของสุขภาพและความเป็นอยู่ที่ดีสำหรับประชากรโลก

Quality Education ความสำคัญของการศึกษาที่มีคุณภาพและโอกาสเรียนรู้ตลอดชีวิต

Gender Equality ความเท่าเทียมทางเพศในการให้สิทธิและโอกาสในสังคม

Clean Water and Sanitation ความสำคัญของน้ำดื่มสะอาดและสุขอนามัยสำหรับประชากร

Affordable and Clean Energy ความสำคัญของพลังงานที่สะอาดและคุ้มค่าสำหรับประชากรโลก

Decent Work and Economic Growth ความสำคัญของการเติบโตเศรษฐกิจที่ยั่งยืนและงานที่เหมาะสม

Industry, Innovation and Infrastructure ความสำคัญของการวิจัยและพัฒนาเพื่อการเติบโตเศรษฐกิจ

Reduced Inequalities ความสำคัญของการลดความไม่เท่าเทียมในสังคม

Sustainable Cities and Communities ความสำคัญของเมืองและสังคมที่ยั่งยืนและมีคุณภาพชีวิตสูง

Responsible Consumption and Production ความรับผิดชอบในการบริโภคและการผลิตเพื่อความยั่งยืน

Climate Action ความสำคัญของการเคลื่อนไหวในการแก้ไขปัญหาสภาพภูมิอากาศ

Life below Water ความสำคัญของการปกป้องชีวิตใต้ทะเลและการบริโภคทรัพยากรน้ำ

Life on Land ความสำคัญของการปกป้องชีวิตบนพื้นดินและการบริโภคทรัพยากรธรรมชาติ

Peace, Justice and Strong Institutions ความสำคัญของความสงบสุข ความยุติธรรม และองค์กรที่เข้มแข็ง

Partnerships for the Goals ความสำคัญของการสร้างความร่วมมือเพื่อบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน

Transcripts

play00:40

เอาล่ะค่ะ

play00:40

กลับมาพบกันในตอนนี้ กับการพูดถึงปัญหาระดับนานาชาติ

play00:46

ในปีค.ศ. 2015 ก็เรียกได้ว่าสักพักใหญ่ ๆ แล้ว

play00:52

องค์การสหประชาชาติ

play00:54

หรือว่า UNITED NATIONS นะคะ

play00:56

ได้ตั้งเป้าหมายที่เรียกกันว่า

play00:58

Sustainable Development Goals นะคะ

play01:01

ต้องบอกก่อนว่า SDGs เป็นตัวย่อแต่ว่า

play01:03

มี S ห้อยตามท้ายด้วยเพราะว่า

play01:05

เขามีหลาย Goals เหลือเกินนะคะ

play01:07

หรือในภาษาไทยก็คือเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนนะคะ

play01:10

ซึ่งมีอยู่ด้วยกัน 17 ประการ ได้แก่

play01:13

1. No Poverty ก็คือ ไม่มีความยากจน

play01:16

เดี๋ยวเป็นอย่างไรจะค่อย ๆ ไปอธิบายกัน

play01:19

2. Zero Hunger นะคะ ไม่มีความหิวโหย

play01:22

3. Good Health and Well Being นะคะ

play01:25

ก็พูดถึงเรื่องราวของการมีสุขภาพและความเป็นอยู่ที่ดี

play01:28

4. Quality Education นะคะ

play01:31

เราพูดถึงเรื่องราวของคุณภาพการศึกษา

play01:34

เป็นอย่างไรนะคะ การศึกษาที่มีคุณภาพ

play01:37

5. Gender Equality ความเท่าเทียมกันทางเพศนะคะ

play01:42

6. Clean Water and Sanitation

play01:44

น้ำดื่มสะอาดและสุขอนามัยนะคะ

play01:48

7. Affordable and Clean Energy

play01:50

พลังงานสะอาดในราคาที่เอื้อมถึงได้

play01:52

8. Decent Work and Economic Growth นะคะ

play01:55

งานที่เหมาะสมและการเติบโตทางเศรษฐกิจ

play01:57

9. Industry, Innovation and Infrastructure นะคะ

play02:00

อุตสาหกรรม นวัตกรรม และโครงสร้างพื้นฐานนะคะ

play02:04

10. Reduced Inequalities นะคะ

play02:06

ลดความไม่เท่าเทียมกัน

play02:08

11. Sustainable Cities and Communities นะคะ

play02:10

ก็พูดถึงเรื่องราวของเมืองและสังคมที่ยั่งยืน

play02:14

12. Responsible Consumption

play02:15

and Production นะคะ

play02:16

การบริโภคและการผลิตอย่างรับผิดชอบ

play02:19

13. Climate Action นะคะ

play02:21

การเคลื่อนไหวในประเด็นที่เกี่ยวกับสภาพภูมิอากาศ

play02:25

14. Life below Water ชีวิตใต้ผืนน้ำนะคะ

play02:28

15. Life on Land ชีวิตบนผืนดินนะคะ

play02:32

16. Peace, Justice and Strong Institutions นะคะ

play02:35

ความสงบสุข และความยุติธรรม รวมไปถึงองค์กรเข้มแข็ง

play02:39

17. Partnerships for the Goals นะคะ

play02:42

สร้างความร่วมมือเพื่อบรรลุเป้าหมาย

play02:44

เอาละค่ะ นี่ก็คือ 17 เป้าหมาย เยอะมากนะคะ

play02:48

ต้องบอกว่าเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนเนี่ย

play02:51

ถือเป็นเป้าหมายที่องค์การสหประชาชาติ

play02:54

ตั้งใจไว้จนถึงปีค.ศ. 2030

play02:57

ก็หรือถ้านับเป็นอายุนะคะ ก็คือมีเป้าหมาย

play03:00

15 ปี นับตั้งแต่เค้าประกาศออกมาในปี 2015

play03:05

เรามาดูในแต่ละประเด็นกันดีกว่า

play03:08

ประเด็นที่ 1 No Poverty การขจัดปัญหาความยากจนนะคะ

play03:13

ความเหลื่อมล้ำเนี่ยยังคงมีอยู่ในสังคม

play03:16

ปัญหาของการได้รับเงินบำนาญหลังเกษียณอายุ

play03:19

ปัญหาของการได้รับการช่วยเหลือจากภาครัฐ

play03:22

ของคนพิการและผู้ว่างงาน

play03:23

รวมไปถึงการได้รับสิทธิ์ของมารดา หลังการคลอดบุตร

play03:28

ปัจจุบันยังคงเป็นปัญหาที่ก่อให้เกิด ความเหลื่อมล้ำกันในสังคมนะคะ

play03:32

ปัญหาอีกประการหนึ่งก็แล้วกันที่ องค์การสหประชาชาติให้ความใส่ใจ

play03:35

ก็คือปัญหาที่เกิดจากภัยพิบัติ

play03:37

ซึ่งจะส่งผลกระทบทางเศรษฐกิจ

play03:39

ให้แก่รัฐโดยเฉพาะผลกระทบที่เกิดขึ้น

play03:42

กับประเทศที่มีรายได้ประชากรปานกลาง

play03:45

และประเทศที่มีรายได้ประชากรต่ำนะคะ

play03:48

เราไปดูประเด็นที่ 2 นะคะ

play03:50

Zero Hunger นะคะ การขจัดปัญหาความหิวโหย

play03:54

ถึงแม้ว่าปัจจุบันจะมีประชากรจำนวนมาก

play03:56

ที่อยู่ในสภาวะการขาดแคลนอาหารนะคะ

play03:58

แต่ว่าอีกปัญหาอีกส่วนหนึ่งนะคะ

play04:00

ก็คือปัญหาเรื่องของ Food Waste นะคะ

play04:03

หรือว่าปัญหาอาหารเหลือทิ้งนะคะ

play04:05

ซึ่งหมายถึงอาหารที่ไม่ได้ถูกบริโภคนะคะ

play04:08

แล้วก็ส่งผลให้เกิดความสูญเปล่าจากกระบวนการผลิต

play04:11

ต้องบอกว่าปริมาณ 1 ใน 3 ของอาหารที่

play04:16

เกิดขึ้นได้ถูกทำให้กลายเป็น Food Waste นะคะ

play04:20

มื้ออาหารที่ผลิตขึ้นมา ดังนั้นก็อันนี้น่าสนใจนะ

play04:24

ประชากรจำนวนนึงประสบกับสภาวะ การขาดแคลนอาหารนะคะ

play04:27

แต่ว่าขณะเดียวกัน อันนี้คือพูดแล้วเศร้านะคะ

play04:31

ก็ยังมีการบอกว่าอาหารเหลือที่ยังไม่ได้ ถูกบริโภคในปริมาณมากนะคะ

play04:36

โอเค ประเด็นที่ 3 นะคะ

play04:37

Good Health and Well-being

play04:39

การมีสุขภาพและความเป็นอยู่ที่ดี

play04:43

เป้าหมายขององค์การสหประชาชาติ

play04:44

ก็คือการลดอัตราการเสียชีวิต

play04:46

ของเด็กแรกเกิดจนถึงอายุต่ำกว่า 5 ปีนะคะ

play04:50

การลดอัตราการเสียชีวิตของมารดา ในระหว่างการคลอดบุตร

play04:53

ป้องกันการท้องโดยไม่พร้อม การท้องวัยเยาว์นะคะ

play04:57

ลดอัตราการติดเชื้อ HIV วัณโรค มาลาเรีย ตับอักเสบ นะคะ

play05:02

ประเด็นที่ 4 นะคะ Quality Education

play05:07

เรื่องราวของด้านคุณภาพการศึกษา การศึกษาที่มีคุณภาพนะคะ

play05:11

เป้าหมายก็คือการให้ประชากร

play05:14

มีโอกาสในการเข้าถึงการศึกษานะคะ

play05:18

ได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพและส่งเสริมโอกาส ในการเรียนรู้ตลอดชีวิต

play05:23

สำหรับประชากรทุกคนนะคะ

play05:25

มาแล้วคีย์เวิร์ด Life Long Education นะคะ

play05:28

เรียนรู้ไปเลยตลอดชีวิตนะคะ

play05:29

ตอนนี้ก็คือมีแพลตฟอร์ม

play05:31

เยอะแยะมากมายที่พวกคุณจะสามารถเข้าถึง

play05:34

ยกตัวอย่างเช่น Coursera, EdX

play05:37

Udemy ที่พูดทั้งหมดนี้นะคะ

play05:39

อาจารย์ไม่ได้ค่าโฆษณา

play05:41

หรือแม้กระทั่ง CMU Life Long Education ของเรานะคะก็

play05:44

สิ่งเหล่านี้จัดเป็นเรื่องราวของการเรียนรู้ตลอดชีวิต

play05:47

ใครสนใจก็ลองเข้าไปเรียนได้นะคะ

play05:50

หลาย ๆ คอร์สเนี่ย เขาก็เสนอ ให้คุณได้เรียนฟรีเลยนะคะ

play05:54

บางทีก็จะมี ถ้าจะเอา Certificate หรือว่า

play05:57

จะเอาใบประกาศนียบัตรเนี่ย ค่อยจ่ายเงินก็มี

play06:00

เอาล่ะ

play06:01

นอกเหนือไปจากประเด็นการเข้าถึงโอกาส

play06:03

ในการได้รับการศึกษาแล้วนะคะ

play06:06

คุณภาพการศึกษาเนี่ย ควรได้รับการพัฒนาขึ้นนะคะ

play06:09

พบว่า อันนี้น่าสนใจนะ

play06:11

นักเรียนที่มาจากครอบครัว ที่มีฐานะทางเศรษฐกิจดีกว่า

play06:14

จะมีผลการเรียนรู้อยู่ในระดับ ที่ดีกว่านักเรียนที่มีฐานะยากจน

play06:19

อันนี้ขีดเส้นใต้ไว้เลยนะว่า

play06:21

เป็นประเด็นที่อาจารย์รู้สึกว่า

play06:23

ทำไมเกี่ยวข้องกับเรื่องราวของ ฐานะกับกับผลการเรียนนะคะ?

play06:27

นอกจากนี้ ผลการศึกษาของนักเรียนในเมือง

play06:30

จะมีผลการศึกษาที่ดีกว่านักเรียนที่อาศัยอยู่ใน

play06:33

เขตพื้นที่ชนบทนะคะ

play06:35

ประเด็นที่ 5 Gender Equality

play06:38

ความเท่าเทียมกันทางเพศ

play06:41

ประเด็นนี้นะคะพบว่า

play06:43

สตรีและเด็กหญิงยังคงได้รับโอกาส และสิทธิ์ขั้นพื้นฐาน

play06:47

ในระดับที่ยังไม่เท่าเทียมกับเพศชายนะคะ

play06:50

ความพยายามในการได้มา ซึ่งความเท่าเทียมกันส่วนหนึ่ง

play06:53

จะต้องมาจากการสร้างกฎหมาย ที่สนับสนุนในสิทธิของสตรีนะคะ

play06:58

เราพูดถึงจำนวนสตรีที่สามารถ

play07:00

เข้าไปดำรงตำแหน่งทางการเมืองในสภานะคะ

play07:03

สภาล่างเนี่ยน้อยกว่าเพศชายอย่างมีนัยยะสำคัญ

play07:05

ก็คือน้อยกว่าร้อยละ 25

play07:07

รวมทั้งจำนวนสตรีที่ได้รับการคัดเลือก

play07:10

ให้ดำรงตำแหน่งในระดับการจัดการนะคะ

play07:13

เป็นต้นไป ก็มีจำนวนน้อยกว่าเพศชายนะ

play07:16

ไม่ว่าจะเป็นในตำแหน่ง ผู้จัดการระดับกลาง สูง นะคะ

play07:19

ระดับกลางถึงสูงเนอะ มีสตรีที่ได้รับการเข้าดำรงตำแหน่งนะคะ

play07:24

ก็เอาตรง ๆ คือเขาอยากที่จะ

play07:26

เพิ่มจำนวนสตรีให้เข้าไปมีบทบาท ในด้านการบริหารมากขึ้น

play07:29

ตั้งแต่ระดับองค์กรรัฐ องค์กรเอกชน นะคะ

play07:32

ไปจนถึงอย่างที่เราบอก เรื่องของการเมือง

play07:34

บางประเทศดีมากเลยมีการระบุโควตานะคะ

play07:38

ยกตัวอย่างเช่น พรรคการเมือง เอ นะคะ

play07:40

จะมีการระบุโควตาเลยทั่วประเทศนะคะว่า

play07:44

ต้องส่งรายชื่อคนที่แบบรับสมัครเข้าเป็น สส.

play07:47

เป็นตัวแทนพรรคเนี่ยอย่างร้อยละ 30

play07:49

ผลการเลือกตั้งเป็นอย่างไรค่อยว่ากัน

play07:52

แต่นี่มันก็เป็นสิ่งหนึ่งนะ แต่ว่า

play07:55

บางคนอาจจะถกเถียงในประเด็นนี้ บอกว่า

play07:57

ถ้าเกิดเราให้สิทธิ์แบบบังคับว่าต้อง

play08:00

อย่างน้อง 30 คน ที่ส่งชื่อเป็นตัวแทนพรรค แล้วเป็นผู้หญิงเนี่ย

play08:04

มันไปลดคุณค่า นึกออกไหม?

play08:06

คือถ้าจะให้ความสำคัญอย่างเท่าเทียมกัน

play08:08

เราก็เปิดเลย ไม่ว่าจะเป็นเพศใดเนอะ

play08:11

แต่ว่าในลักษณะกระบวนการคิดเช่นนี้

play08:13

คือเขาอยากจะเพิ่มปริมาณสตรี

play08:15

ให้เข้าไปมีบทบาททางการเมือง หรือไม่ก็อาจจะมีวิธีคิดที่หลากหลาย

play08:19

แต่ว่าอาจารย์มองว่าการมีโควตาแบบนี้เป็นประเด็นที่น่าสนใจ

play08:23

และประเทศไทยก็ถกเถียงนะคะในเรื่องนี้อยู่

play08:27

ประเด็นที่ 6 นะคะ Clean Water and Sanitation นะคะ

play08:30

น้ำดื่มสะอาดและสุขอนามัย

play08:33

ในประเด็นนี้นะคะ พบว่ายังมีคนบนโลกใบนี้อีก

play08:36

สองพันล้านคนที่ประสบกับสภาวะ การอาศัยอยู่ในประเทศที่มีความเสี่ยง

play08:41

ในการขาดแคลนน้ำในอนาคต เนื่องจาก

play08:44

ปริมาณน้ำที่ใช้กับปริมาณน้ำที่สามารถ

play08:47

กลับมาใช้ใหม่เนี่ยไม่สัมพันธ์กันนะคะ

play08:50

เอาล่ะ

play08:51

เราพูดถึงประเด็นเรื่องของน้ำนะคะ

play08:53

อยากให้ไปดูเรื่องราวของประเทศสิงคโปร์นิดนึง

play08:56

เราจะเห็นว่า เขามีการเอาน้ำจากสถานที่ ยกตัวอย่าง

play09:01

น้ำจากส้วมเนี่ย พูดอย่างนี้นะคะ

play09:03

นำกลับมาเป็นน้ำที่ให้ผู้บริโภคสามารถที่จะบริโภคได้

play09:08

ประเด็นนี้น่าสนใจนะว่า

play09:10

เราอาจจะทำเป็นขำเลย แต่ว่าในอนาคตเนี่ย

play09:13

ถ้าปริมาณที่เราบริโภคมันเกินกว่าที่

play09:19

คือแบบ Input / Output อะไรเเบบนี้เนอะ

play09:21

พูดแล้วทุกคนเบลอนะคะ คืออย่างนี้ ถ้าในที่สุดแล้ว

play09:25

น้ำเกิดสภาวะการขาดแคลนน้ำดื่มเนี่ยนะคะ

play09:28

เราอาจจะต้องไปดูเทคโนโลยีจากหลาย ๆ ประเทศก็เป็นได้

play09:31

หรือในกรณีที่เคยเกิดขึ้นนะคะ

play09:34

ประเด็นที่ 7 นะคะ Affordable and Clean Energy

play09:37

พลังงานสะอาดในราคาที่เอื้อมถึงได้นะคะ

play09:40

องค์การสหประชาชาติก็คาดหวังว่า

play09:43

ประชากรโลกจะสามารถเข้าถึงพลังงาน ที่ยั่งยืนอย่างมีประสิทธิภาพ

play09:48

เราพูดถึงเรื่องการเข้าถึงการใช้ไฟฟ้านะคะ

play09:51

การขาดแคลนเชื้อเพลิงสะอาดและเทคโนโลยีที่ใช้

play09:54

ในการทำอาหาร ซึ่งผลกระทบต่อประชากร

play09:57

คือพูดตามตรงว่าในบางประเทศ

play09:59

อาจารย์ขอยกตัวอย่างนะคะ

play10:00

บางพื้นที่ในอินเดียเนี่ย เราใช้ฟืนในการทำอาหารนะคะ

play10:06

สิ่งนี้เราอาจจะเห็นมันเป็นเรื่องปกติ

play10:08

แต่นึกสภาพนะคะ

play10:09

เราคุ้นชินมากกับคำว่า PM 2.5 แต่นึกสภาพว่า

play10:12

คนที่ทำอาหาร ปรุงอาหารเนี่ย แล้วใช้ฝืน ใช้ไฟ

play10:16

ซึ่งตัวควันเนี่ยมันลอยขึ้น แล้วก็ส่งผลกระทบต่อทางเดิน

play10:21

เป็นโรคทางเดินทั้งหลาย ทางเดินลมหายใจอะไรแบบนี้นะคะ

play10:24

ที่เกี่ยวกับทางเดินหายใจเนี่ยนะคะ

play10:26

ดังนั้นก็เป็นสิ่งหนึ่งที่เขาอยากที่จะพัฒนาให้ดีขึ้นนะคะ

play10:30

ประเด็นที่ 8 Decent Work and Economic Growth นะคะ

play10:34

งานที่เหมาะสมและการเติบโตทางเศรษฐกิจ

play10:36

เป้าหมายก็คือการพัฒนาทางเศรษฐกิจ

play10:39

อย่างยั่งยืน อย่างครอบคลุมนะคะ

play10:41

ไม่ว่าจะเป็นประเด็นเรื่องของผู้ว่างงานนะคะ ผลิตภาพแรงงาน

play10:44

การเข้าถึงบริการทางการเงิน

play10:47

การพัฒนาทางเศรษฐกิจที่สามารถใช้ตัวชี้วัด

play10:49

จากการดูการเติบโตของ GDP เป็นหลัก

play10:52

เราไปดูประเด็นที่ 9 กันค่ะ

play10:53

Industry, Innovation and Infrastructure นะคะ

play10:57

อุตสาหกรรม นวัตกรรม และโครงสร้างพื้นฐาน

play10:59

เป้าหมายในประเด็นนี้ก็คือการลงทุน ในการวิจัยและการพัฒนา

play11:02

การลดการส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม

play11:05

ที่เกิดจากอุตสาหกรรมการขนส่งทางอากาศ

play11:07

การเข้าถึงสัญญาณโครงข่ายโทรศัพท์นะคะ

play11:10

ต้องบอกว่าหลาย ๆ ประเทศเนี่ยนะคะ

play11:13

เราพูดถึงเรื่องของการลงทุนในการวิจัย และการพัฒนานะคะ

play11:17

แต่ว่าลองไปดูนะคะ

play11:20

แบบเหมือนกับค่าใช้จ่ายจริง ๆ ที่ประเทศได้ใช้นะคะ

play11:23

จะพบว่าของประเทศไทยเนี่ย อาจารย์คิดว่ายังสามารถที่จะเพิ่มงบ

play11:28

ในประเด็นของการลงทุนวิจัย และพัฒนาได้อีกเยอะเลยนะคะ

play11:32

คือถ้าคิดเป็นร้อยละนะ เป็นเปอร์เซ็นต์ ที่แบบงบรัฐบาลที่ใช้จ่าย

play11:38

ยังถือว่าเป็นเปอร์เซ็นต์ที่น้อยมาก ๆ อยู่นะ

play11:40

อาจารย์เคยเขียนวิพากษ์เอาไว้นะคะ

play11:42

ประเด็นที่ 10 Reduced Inequalities นะคะ

play11:45

ลดความไม่เท่าเทียมกัน

play11:47

คำว่าความไม่เท่าเทียมกันเนี่ย ก็สามารถตีความไปได้หลากหลาย

play11:50

แต่ว่านิยามของคำว่าการลดความ ไม่เท่าเทียมกันของ SDGs เนี่ย

play11:54

เน้นไปที่ความไม่เท่าเทียมกันระหว่างประเทศ เช่น

play11:58

ในกระบวนการมีสิทธิ์มีเสียงในระดับนานาชาติ

play12:01

ซึ่งประเด็นนี้ก็การพัฒนาให้ประเทศกำลังพัฒนา

play12:04

เข้ามามีสิทธิ์มีเสียงมากขึ้นในการตัดสินใจ ในระดับนานาชาตินะคะ

play12:09

ประเด็นที่ 11

play12:10

Sustainable Cities and Communities นะคะ

play12:13

เราพูดถึงประเด็นเรื่องของเมืองและสังคมที่ยั่งยืนนะคะ

play12:17

ในปัจจุบันประชากรเนี่ยได้ย้าย

play12:19

เข้ามาตั้งถิ่นฐานในเมืองมากขึ้นกว่าแต่ก่อนนะคะ

play12:22

การเพิ่มขึ้นของประชากรและการเคลื่อนย้าย ของประชากรเข้าสู่เมือง

play12:26

ก็ทำให้สภาวะของเมืองเนี่ย

play12:28

ส่วนหนึ่งกลายเป็นเรียกว่าชุมชน พื้นที่ชุมชนแออัด

play12:31

หรือว่าสลัมนะคะ

play12:32

ผู้คนที่อยู่ในชุมชนแออัดเนี่ย ประสบกับปัญหาเยอะมากนะคะ

play12:36

ในการ

play12:37

ในด้านที่อยู่อาศัย

play12:38

ในด้านความคับแคบของพื้นที่ ความสะอาด

play12:41

ความเสื่อมโทรมของพื้นที่นะคะ

play12:43

ตัวอย่างของพื้นที่ชุมชนแออัด

play12:45

ที่มีประชากรอาศัยอยู่เป็นจำนวนมากเลยนะ ก็ได้แก่

play12:49

สลัมในพื้นที่ Kibera

play12:51

ซึ่งจะตั้งอยู่ในกรุงไนโรบี ประเทศเคนย่านะคะ

play12:55

แล้วก็จะมีอย่างของกรุงมานิลา

play12:58

สลัมในกรุงมานิลาในประเทศฟิลิปปินส์นะคะ

play13:01

นอกจากประเด็นของพื้นที่แออัด ที่เกิดขึ้นตามเมืองต่าง ๆ นะคะ

play13:05

สิ่งที่เกิดตามขึ้นมาเมื่อประชากรเข้า มาอยู่ในเมืองมากนะคะ

play13:08

ก็คืออย่างที่เห็นค่ะ สภาวะมลภาวะทาง อากาศเป็นพิษเลยนะคะ

play13:13

บริการแล้วก็โครงสร้างพื้นฐานสาธารณะ

play13:16

รัฐจะต้องมีการปรับปรุงเพิ่มเติม เพราะว่าคนเยอะขึ้นนะคะ

play13:19

เพื่ออำนวยความสะดวกจากการที่ประชากรมีมากขึ้น

play13:23

นอกจากนี้ประเด็นที่รัฐจะต้องพิจารณา ก็คือว่า

play13:27

ในกรณีภัยภิบัติเกิดขึ้นในเมืองใหญ่

play13:30

ความเสียหายต่อทั้งชีวิตและทรัพย์สิน เนี่ยจะเพิ่มมากขึ้นนะคะ

play13:35

เพราะคนย้ายเข้ามาอยู่มากขึ้นด้วยเนอะ

play13:37

เป้าประสงค์ในการพัฒนาเมืองและสังคมยั่งยืน

play13:40

ก็คือการทำให้เมืองเติบโตอย่างยั่งยืน เป็นเมืองที่ปลอดภัย

play13:43

และมีพื้นที่สำหรับทุกคนในการเข้าถึงความปลอดภัย

play13:47

และบริการสาธารณะ

play13:48

รวมทั้งได้รับคุณภาพชีวิตที่ดีตามสมควรนะจ๊ะ

play13:52

โอเค ประเด็นที่ 12 นะคะ

play13:54

Responsible Consumption and Production

play13:57

เราพูดถึงเรื่องราวของการบริโภคและการผลิต

play14:00

อย่างมีความรับผิดชอบ

play14:02

ในประเด็นนี้เน้นไปที่การบริโภค และการผลิตอย่างยั่งยืนนะคะ

play14:06

รวมไปถึงการคำนึงปริมาณของสารพิษและขยะอันตราย

play14:10

ที่เกิดจากกระบวนการในการผลิตและบริโภคนะคะ

play14:14

ก็พบว่าพื้นที่โดยเฉพาะทวีปเอเชียตะวันออกเนี่ย

play14:17

มีอัตราการใช้ทรัพยากรทางธรรมชาติเพิ่มขึ้นนะคะ

play14:21

ส่วนหนึ่งเป็นไปเพื่อตอบสนองต่อความ ต้องการของผู้บริโภค

play14:24

ที่มีกำลังในการจับจ่ายใช้สอยมากขึ้น

play14:27

ต้องบอกว่าอย่างจีนเองเนี่ย

play14:30

ประชากรชนชั้นกลางเพิ่มจำนวนขึ้น

play14:33

เมื่อเรามีกำลังจับจ่ายมากขึ้นนะคะ

play14:35

เราย่อมแบบ โอ้โห เราก็

play14:37

อย่างว่านะคะ เราอยู่ในโลกแห่งความเป็นทุนนิยมเนอะ

play14:40

จับจ่ายเพิ่มขึ้นนะคะ เพื่ออำนวยความสะดวก

play14:43

ตรงนี้แหละ เป็นประเด็นหนึ่งที่น่าจับตามอง

play14:47

เอาล่ะ ประเด็นที่ 13 นะคะ

play14:49

Climate Action

play14:50

การเคลื่อนไหวในประเด็นที่เกี่ยวกับสภาพภูมิอากาศ

play14:54

ประเด็นนี้นะคะมุ่งหวังให้เกิดความร่วมมือ ระดับนานาชาติ

play14:57

เพื่อเคลื่อนไหวนะคะ

play14:59

นึกถึงหน้าน้อง Greta Thunberg อย่างไรชอบกลนะคะ

play15:02

เพื่อเคลื่อนไหวในประเด็นที่เกี่ยว กับสภาพภูมิอากาศที่เปลี่ยนแปลงนะคะ

play15:06

โดยประเทศพัฒนาแล้วจะทำการช่วยเหลือ ประเทศกำลังพัฒนา

play15:09

ในการสนับสนุนงบประมาณ

play15:12

เพื่อนำไปใช้ในประเด็นที่เกี่ยวกับภูมิอากาศนะคะ

play15:15

การพัฒนาด้าน Climate Action ที่ผ่านมา ก็คือว่า

play15:18

ประเทศต่าง ๆ เริ่มมีการทำยุทธศาสตร์นะคะ

play15:21

ก็ทำมาแล้วแหละ ทำมาแล้ว

play15:24

เพื่อลดความเสี่ยงของการเกิดภัยภิบัติภายในประเทศ

play15:28

จากการประชุมระดับนานาชาตินะคะ

play15:30

ในประเด็นของการเคลื่อนไหว ที่เกี่ยวกับสภาพภูมิอากาศนะคะ

play15:34

ยังเป็นประเด็นที่

play15:36

พูดตามตรงว่าไม่ได้เห็นความเปลี่ยนแปลงอย่างชัดเจน

play15:39

ก็มีการพูดถึงเยอะนะคะแต่ว่า จะเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

play15:43

นอกเหนือไปจากคำมั่นสัญญาของประเทศต่าง ๆ ที่ร่วมตกลงกัน

play15:47

ต้องบอกว่าอากาศเปลี่ยนเนี่ย

play15:49

มันส่งผลกระทบหลายอย่างนะคะ เราจะเห็นว่า

play15:52

บางทีตอนนี้อากาศร้อนก็ร้อนขึ้นเนอะ

play15:55

อากาศการเปลี่ยนแปลงเนี่ย เขาก็พูดถึงขั้นว่า

play15:57

พอดูเรื่องราวของการบินนะคะ

play16:00

เวลาบินเนี่ย เราอาจจะต้องเจอ

play16:02

ลักษณะของคำว่า Turbulence เยอะขึ้นนะคะ

play16:04

ก็หมายความว่าจากเครื่องบินที่บินแบบ Smooth มากนะคะ

play16:08

มันก็จะ Shake มากขึ้น นี่ก็เป็นผลจาก

play16:11

สภาพทางสภาวะอากาศนะคะ เพราะฉะนั้น

play16:14

ใครที่แบบเป็นโรคกลัวเครื่องบินนะคะ

play16:16

ต่อไปในอนาคตเนี่ย มันจะมีโอกาสในการ Shake มากยิ่งขึ้นนะคะ

play16:21

ประเด็นที่ 14 Life below Water นะคะ

play16:24

พูดถึงชีวิตใต้ผืนน้ำ

play16:25

เอาล่ะ ผืนน้ำนี่เป็นแหล่งอาหารชั้นดี ของประชากรของเรา

play16:29

อย่าลืมว่าน้ำเป็นส่วนประกอบของโลกนะคะ

play16:32

เรียนมาตั้งแต่เด็กเลยนะคะ สามจากในสี่ส่วน

play16:35

อย่างไรก็ตามพบว่าปัญหาที่เกิดขึ้นน่ะค่ะ

play16:37

ก็สภาวะของมหาสมุทรเกิดขึ้นนะคะ มีสภาวะเป็นกรด

play16:42

การทำการประมงเกินขนาดและมลพิษ ที่เกิดจากการเดินเรือ

play16:47

อันนี้เราก็แอบตั้งคำถามด้วยว่า

play16:49

มีคนรู้ไหมว่าปัจจุบันนี้เราทานปลาทูจากประเทศไหน?

play16:53

ยังเป็นประเทศไทยหรือเปล่า?

play16:55

นี่อันนี้ลองไปหาคำตอบกัน

play16:57

ส่งผลลบนะคะต่อสิ่งมีชีวิตใต้ท้องทะเล และสภาพแวดล้อมโดยรวม

play17:02

ประเด็นที่ 15 Life on Land นะคะ

play17:04

เราพูดถึงผืนน้ำแล้วเมื่อกี้

play17:07

มาพูดถึงชีวิตบนผืนดินบ้างนะคะ

play17:10

เป้าหมายข้อนี้มีจุดประสงค์

play17:12

จุดมุ่งหมายในการปกป้องผืนแผ่นดิน

play17:14

และชีวภาพมวลรวมของสรรพสิ่ง

play17:16

สิ่งที่โลกกำลังประสบก็คือสภาวะ การสูญเสียหน้าดินนะคะ

play17:21

และการแปรสภาพกลายเป็นทะเลทราย

play17:23

ซึ่งจะส่งผลเสียแน่นอนต่อพวกเรานะคะ

play17:26

ในการสูญเสียในความหลากหลายทางชีวภาพ

play17:28

ซึ่งได้รับผลกระทบมาจาก การเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศ

play17:32

ซึ่งอาจส่งผลให้สิ่งมีชีวิตบางสายพันธุ์

play17:35

เสี่ยงต่อสภาวะของการสูญพันธุ์นะคะ

play17:38

พูดแล้วน่าตกใจนะ

play17:39

ประเด็นที่ 16

play17:40

Peace, Justice and Strong Institutions นะคะ

play17:43

พูดถึงเรื่องราวของความสงบสุข ว้าวนะคะ

play17:46

ความยุติธรรม รวมไปถึงองค์กรเข้มแข็ง

play17:49

จุดประสงค์ของการพัฒนาที่ยั่งยืนประเด็นนี้นะคะ

play17:52

มุ่งไปที่ประชาชนสามารถเข้าถึง

play17:54

กระบวนการยุติธรรมอย่างเท่าเทียมกันและทั่วถึงนะคะ

play17:58

อย่างไรก็ตามความเป็นจริง

play17:59

การเข้าถึงประสิทธิภาพ และความน่าเชื่อถือของกระบวนการยุติธรรม

play18:03

ยังคงมีความเหลื่อมล้ำนะคะ

play18:05

ไม่ว่าจะเหลื่อมล้ำในประเทศนะคะ

play18:07

เราอาจจะเคยได้ยินสองมาตรฐาน หลับตาหนึ่งทีนะคะ แล้วก็

play18:10

แล้วก็ระดับภูมิภาคนะคะ

play18:13

นอกจากนี้ยังมีประเด็นที่องค์การสหประชาชาติ ให้ความสนใจนะคะ

play18:17

มีอีกเยอะเลยได้แก่

play18:18

ประเด็นด้านสิทธิมนุษยชนนะคะ

play18:20

เสรีภาพในการเข้าถึงข้อมูลนะคะ

play18:22

การใช้งบประมาณของภาครัฐอย่างโปร่งใส

play18:25

ปัญหาการคอร์รัปชันนะคะ การรับสินบน

play18:28

เรามาดูกันคำนี้นะคะ

play18:30

เอาล่ะ คำว่า Modern Slavery

play18:34

ถือเป็นการให้คำนิยามในรูปแบบใหม่ ของทาสในยุคปัจจุบันนะคะ

play18:40

แล้วก็สภาวะความเป็นทาสเกิดขึ้น ได้จาก 4 กรณีหลักด้วยกัน ได้แก่

play18:46

1. ถูกบังคับให้ใช้แรงงานด้วยความไม่เต็มใจนะคะ

play18:51

ไม่ว่าการบังคับนั้นจะเกิดจากการบังคับ

play18:55

ขู่เข็ญทางร่างกายหรือจิตใจก็ตามนะคะ

play18:59

2. บุคคลผู้นั้นมีเจ้าของนะคะ

play19:01

หรือถูกควบคุมโดยนายจ้างไม่ว่า จะผ่านทางการข่มขู่นะคะ

play19:06

การทำร้ายร่างการหรือจิตใจ

play19:08

หรือการถูกทำร้ายร่างกายและจิตใจ

play19:11

3. บุคคลผู้นั้นถูกลดคุณค่าของความเป็นมนุษย์

play19:15

จนกลายเป็นเพียงแค่สินค้า

play19:18

ที่สามารถเปลี่ยนผ่านมือของเจ้าของผ่านการค้าขาย

play19:21

โดยถือว่าบุคคลนั้นคือสมบัติชิ้นหนึ่ง

play19:24

4. บุคคลถูกจำกัดอิสรภาพในการเดินทาง เช่น

play19:29

การถูกจำกัดให้อยู่ในสถานที่นั้น ๆ โดยไม่สามารถออกไปไหนมาไหนได้

play19:34

หรือถูกล่ามโซ่เอาไว้เพื่อไม่ให้หนีไปไกล

play19:38

คือเราต้องบอกว่า เอาจริง ๆ เลยนะนักศึกษา

play19:42

Modern Slavery เนี่ย เราอย่าคิดว่ามันไม่มีอยู่จริงนะ

play19:45

ปรากฏว่าโฆษณาในสหราชอาณาจักร

play19:47

ก็พูดถึงเหมือนกันนะว่า นี่มันโลก ในยุคศตวรรษที่ 21 แล้วนะ

play19:51

แต่อาจจะมี Modern Slavery ซ่อนอยู่ตามบ้านต่าง ๆ นะคะ

play19:56

คือเขาไม่ได้อย่างจะถูกซ่อนตัวหรอก แต่ถูกนายจ้างบังคับเอาไว้นะคะ

play20:00

มันมีกรณีหนึ่งที่เกิดขึ้นมา

play20:02

เป็นลูกจ้างจากเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

play20:07

เดินทางไปอังกฤษนะคะ สหราชอาณาจักรเนี่ย

play20:10

แล้วปรากฏว่าไปทำงานให้นายจ้าง

play20:13

ที่มาจากประเทศแถบตะวันออกกลาง

play20:15

เสร็จปุ๊ปสิ่งที่นายจ้างได้กระทำต่อเธอ ลูกจ้างก็คือว่า

play20:19

ไม่ให้เธอไปไหนนะคะ ให้ขนมปังเธอวันละนิดนึง วันละแผ่นสองแผ่น

play20:24

แล้วก็ให้น้ำกินนะคะ

play20:27

แล้วก็ค่าตอบแทนที่ได้รับเนี่ยน้อยนะคะ น้อยกว่าเกณฑ์มาตรฐาน

play20:33

พูดง่าย ๆ ก็คือว่าเธอถูกกักขัง

play20:37

และในที่สุดเธอก็หนีออกมา

play20:39

จากสภาพที่ต้องบอกว่าเป็นสภาพที่ไม่น่ามงคลเช่นนัก ก็คือ

play20:43

ลักษณะเช่นนี้เราก็จะเรียกว่าเป็น Modern Slavery

play20:46

โอเค ประเด็นที่ 17 นะคะ

play20:48

Partnerships for the Goals นะคะ

play20:51

สร้างความร่วมมือเพื่อบรรลุเป้าหมาย ในประเด็นนี้เนี่ย

play20:54

มีเป้าประสงค์เพื่อให้รัฐเนี่ย

play20:56

มีการร่วมมือกันพัฒนาในด้านต่าง ๆ อย่างยั่งยืน

play21:00

ได้แก่ ความร่วมมือทางด้านการเงิน

play21:03

ความร่วมมือทางด้านเทคโนโลยีทางการสื่อสาร

play21:06

และข้อมูลความร่วมมือทางด้านการค้านะคะ

play21:08

โดยการร่วมมือระหว่างกันจะสามารถ ลดระดับความเหลื่อมล้ำ

play21:12

ระหว่างประเทศที่พัฒนาแล้วกับประเทศที่

play21:15

กำลังพัฒนาได้ในระดับหนึ่งนะคะ

play21:18

เอาล่ะ วิธีการแก้ไขปัญหาเพื่อ ความยั่งยืนในปัจจุบันนะคะ

play21:22

ก็การแก้ไขปัญหาพวกความยั่งยืนเนี่ย

play21:25

ในบทที่สองที่เรียนมาทั้งหมดเนี่ยนะคะ เราก็พูดถึงว่า

play21:29

มองให้เห็นนะคะว่า

play21:30

สามารถเกิดขึ้นได้จากทั้งหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน

play21:34

ไปจนถึงบุคคลทั่วไปนะคะ

play21:36

กรณีของการทำธุรกิจนะคะ

play21:38

ปัจจุบันก็มีธุรกิจประเภทนึงที่เราเรียกว่า

play21:40

กิจการเพื่อสังคม หรือว่า Social Enterprise นะคะ

play21:43

ซึ่งเป็นธุรกิจที่ไม่ได้แสวงหากำไร เป็นหลักอย่างเดียวนะคะ

play21:47

แต่ว่าเป็นกำไรเนี่ย

play21:50

คือต้องบอกตามตรงว่าเป็นธุรกิจจริงที่ต้องการมีกำไร

play21:53

แต่ว่าเป้าหมายของกิจการเพื่อสังคมก็

play21:56

เป็นไปเพื่อแก้ไขปัญหาทางสังคม สิ่งแวดล้อมนะคะ

play21:59

นอกจากนี้นะคะ

play22:01

เราอยากที่จะให้ทุกท่านไปติดตาม บทความท้ายบทที่สอง

play22:04

ซึ่งมีเรื่องราวประกอบอันหลากหลายนะคะ

play22:07

เราพูดถึงตั้งแต่บริษัทนะคะ

play22:09

ผลิตภัณฑ์ที่ดูแลร่างกาย

play22:12

จากสหราชอาณาจักรที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมนะคะ

play22:15

เรื่องราวของโรงเรียนที่เน้น การเรียนการสอนเพิ่มเติม

play22:18

ด้านสิ่งแวดล้อม ในอินโดนีเซียนะคะ

play22:20

ที่มีชื่อเรียกว่า Green School นะคะ

play22:23

อาจารย์ไปเที่ยวมาแล้ว ชอบมาก อยากพาคลาสนี้ไปมาก

play22:26

วันไหนเราได้งบประมาณมา อยากจะพาไปดูนะคะ

play22:30

Green School เนี่ย โรงเรียนทำจากไม้ไผ่นะคะ

play22:33

แล้วทั้ง ๆ ที่อินโดนีเซียก็ร้อนชื้นเหมือนเราใช่ไหม?

play22:36

ปรากฏว่าก็ร่มรื่นมาก สภาพเขาก็ปลูกต้นไม้ เต็มไปหมดเลยนะคะ

play22:40

เรื่องราวของสตาร์ทอัพที่เราอยากให้ทุกคนทดลองใช้

play22:44

เพราะว่าคนใช้ส่วนใหญ่อยู่ที่ ในประเทศโลกตะวันตกนะคะ

play22:48

โดยเฉพาะอย่างสหราชอาณาจักรนะคะ

play22:50

อยากให้ลองใช้แอปพลิเคชันที่ชื่อว่า Olio

play22:53

O-l-i-o นะคะ

play22:54

เพื่อที่จะช่วยกันลดปัญหา Food Waste นะคะ

play22:58

เอาล่ะ ถึงแม้ว่าการแก้ไขปัญหาเพื่อความยั่งยืนเนี่ย

play23:02

จะมีหลากหลายรูปแบบนะคะ

play23:04

แต่ปฏิเสธไม่ได้ว่า

play23:05

ณ ปัจจุบันก็ยังมีวิธีแก้ไขปัญหาแบบชั่วคราวนะคะ

play23:09

ซึ่งก็ไปอ่านในบทความได้เช่นเดียวกัน เช่นการบริจาค

play23:13

ธุรกิจที่เน้นการขายผลิตภัณฑ์นะคะ

play23:16

แบบที่เน้นการช่วยเหลือสังคม

play23:18

ผ่านการบริจาคสินค้าของตนเองนะคะ

play23:20

ยกตัวอย่างเช่น เมื่อซื้อสินค้าของบริษัทนี้นะคะ

play23:23

บริษัทก็แจ้งเลยว่า โอ้โห แบบเราใจดีมาก

play23:27

Buy 1 Give 1 นะคะ

play23:29

คือซื้อสินค้าเราเนี่ย

play23:30

เดี๋ยวเราจะเอาสินค้านี้ไปบริจาคในประเทศอื่น ๆ นะคะ

play23:34

คือฟังแล้วดูดีมาก

play23:35

ในกรณีของการทำธุรกิจในลักษณะนี้

play23:37

พูดตรง ๆ อย่าลืมไปอ่านนะ

play23:39

ส่งผลเชิงบวกแบบชั่วคราวนะคะ

play23:42

แต่ว่าสร้างผลกระทบต่อเศรษฐกิจของประเทศ

play23:45

ผู้รับบริจาคในระยะยาวนะคะ

play23:48

เอาละค่ะ นี่ก็เป็นเรื่องราวคร่าว ๆ ของบทที่สองนะคะ

play23:52

หวังว่านักศึกษาจะเอนจอยกับคลิปเรานะคะ

play23:56

ไม่ทางใดก็ทางหนึ่ง แล้วก็

play23:58

อย่าลืมนะคะ ย้ำแล้วย้ำอีกนะคะ

play24:01

ไปอ่านบทความท้ายบทกันด้วยนะจ๊ะ

play24:03

สำหรับวันนี้เราจะต้องขอลาทุกท่านไปก่อนกับบทที่สอง

play24:07

บ๊ายบายค่ะ

Rate This

5.0 / 5 (0 votes)

Ähnliche Tags
持続開発目標社会問題国際協力貧困解消教育環境保護ジェンダー平等健康経済成長協力体制サステナビリティグローバル問題
Benötigen Sie eine Zusammenfassung auf Englisch?