วิชาสังคมศึกษา | ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับกฎหมาย

StartDee
21 Sept 202013:15

Summary

TLDRThis script offers an insightful exploration into the nature and significance of law. It explains that laws are rules established by authorities to govern conduct uniformly, with consequences for non-compliance. The video underscores the law's role in maintaining social order and safeguarding citizens' rights and freedoms. It delves into the origins of laws, their development from traditions and cultures, and the legislative process involving various state authorities. The script also distinguishes between public and private law, and criminal and civil law, providing a foundational understanding of legal systems, their hierarchy, and the evolution from unwritten customs to codified statutes.

Takeaways

  • 📚 The script discusses the concept of law, emphasizing its importance and universal application to everyone equally.
  • 🏛️ Laws are established by those in authority and are designed to regulate behavior within a society.
  • 🔍 The script highlights that laws have a binding nature and consequences for non-compliance, which can include punishment or enforcement.
  • 🌟 Laws play a critical role in maintaining social order and are considered a foundational aspect of society.
  • 📜 The script explains that laws also define the rights and freedoms of citizens, ensuring their protection and entitlements.
  • 🏛️ It is mentioned that laws outline the duties and responsibilities of citizens towards the development and betterment of the nation.
  • 🔎 The origins of laws are explored, indicating that they stem from authoritative bodies such as the state, legislative assemblies, or cabinets.
  • 📝 Laws are derived from cultural traditions, local customs, or the current societal context, and are designed to address specific societal needs.
  • ⚖️ The script cautions against the misuse of power in lawmaking, noting the potential for laws to be unjust if authority is not used appropriately.
  • 📑 The types of laws are categorized based on the relationships they govern, distinguishing between civil law, which is between individuals, and public law, which involves the state.
  • 🏫 The script also delves into the educational aspect of law, suggesting that understanding both the benefits and potential drawbacks of laws is crucial for their positive development.

Q & A

  • What does the term 'law' generally refer to?

    -The term 'law' generally refers to rules and regulations established by those in authority to govern the conduct of individuals within a society.

  • What are the characteristics of law mentioned in the script?

    -The script mentions that laws are binding, apply equally to everyone, and have consequences for non-compliance, which may include punishment or enforcement.

  • How does the script describe the role of law in society?

    -The script describes the law as a fundamental part of society, serving as a means to maintain order and discipline, and as a protector of citizens' rights and freedoms.

  • What is the source of law according to the script?

    -The script suggests that laws originate from those in power, such as the state, parliament, or the cabinet of ministers, and are often based on local customs, traditions, or the current societal context.

  • What are the potential issues if the state abuses its power in making laws?

    -If the state abuses its power, it may enact laws that are unjust or harmful to the citizens, which could lead to various negative consequences.

  • How does the script categorize laws based on the relationship of the parties involved?

    -The script categorizes laws into two main types: private law, which deals with disputes between individuals without state involvement, and public law, which involves the state in legal disputes.

  • What is the difference between civil law and criminal law as explained in the script?

    -Civil law, according to the script, deals with disputes between individuals, while criminal law involves the state in cases of wrongdoing, where the state perceives an offense and involves police and prosecutors.

  • How are laws classified based on their function as described in the script?

    -Laws are classified into substantive law, which defines rights and obligations, and procedural law, which outlines the methods and processes for enforcing those rights and obligations.

  • What is the script's explanation of the historical development of law?

    -The script explains that historically, laws were not written down but were based on customs and traditions. Over time, they evolved into written laws to provide clarity and structure.

  • How does the script differentiate between 'mother law' and 'subordinate law'?

    -The script describes 'mother law' as overarching principles, while 'subordinate law' consists of more detailed regulations that stem from these broader principles.

  • What is the significance of the hierarchy of laws as discussed in the script?

    -The script discusses the hierarchy of laws to illustrate how different legal instruments relate to each other and how they are created and enforced by various authorities within a legal system.

Outlines

00:00

📚 Introduction to Law

This paragraph introduces the concept of law, explaining that it consists of rules established by authorities to govern behavior uniformly. It highlights the universal applicability and binding nature of laws, with consequences for non-compliance. The law is portrayed as a fundamental element of society, serving to maintain order and protect citizens' rights and freedoms. The origins of law are discussed, noting that it stems from authoritative sources such as the state, parliament, or government ministers, and is influenced by local customs, traditions, and current societal conditions. The importance of understanding both the benefits and potential drawbacks of law is emphasized for its continued development.

05:00

📜 Types and Classifications of Law

The second paragraph delves into the types and classifications of law. It discusses the categorization based on the relationship of parties involved in legal cases, distinguishing between private law, which governs disputes between individuals without government involvement, and public law, where the state is a party. Examples of private law include civil transactions, while public law covers criminal law and state-related issues. The paragraph also introduces the concept of legal systems, contrasting common law, which is based on precedents and traditions, with statutory law, which is written and codified. The evolution of law from unwritten customs to written statutes is briefly touched upon.

10:02

🏛️ Hierarchical Structure of Legal Systems

The final paragraph explores the hierarchical structure of legal systems, explaining the concept of primary and subordinate legislation. It distinguishes between constitutional law, which is the supreme law and cannot be abolished but can be amended through state assemblies, and other forms of legislation such as royal decrees and ministerial regulations. The process of enacting and amending these laws, including the necessity for parliamentary approval in certain cases, is outlined. The paragraph also discusses the role of various government bodies in issuing different types of legal decrees and the importance of understanding this hierarchy in the context of daily life and news.

Mindmap

Keywords

💡Law

Law refers to a system of rules that are enforced by governmental institutions to regulate behavior and maintain order within a society. In the video, the concept of law is central as it discusses the nature, importance, and origins of laws. The script mentions that laws are established by those in authority and are meant to be universally followed, with consequences for non-compliance.

💡Legal System

The legal system encompasses the entire framework through which a society resolves disputes and enforces laws. The video script describes the legal system as having different types of laws and procedures, highlighting how it operates to maintain social order and protect citizens' rights.

💡Constitution

A constitution is the fundamental law of a country, outlining the structure, powers, and limitations of the government, as well as the rights and duties of its citizens. The script refers to the constitution as the supreme law, setting the foundation for other laws and requiring special procedures for amendment.

💡Criminal Law

Criminal law pertains to the body of laws that define criminal offenses and prescribe penalties for those offenses. In the context of the video, criminal law is mentioned as part of the legal system that deals with offenses against the state and the community, such as theft or murder.

💡Civil Law

Civil law governs disputes between individuals or organizations, rather than criminal offenses. The video script explains civil law as a type of private law that deals with matters such as contracts, torts, and property rights.

💡Statutory Law

Statutory law is created by legislative bodies through statutes or written laws. The script discusses statutory law as one of the primary sources of law, which is distinct from common law that relies on judicial precedents.

💡Regulation

A regulation is a rule or order issued by an authority and having the force of law. In the video, regulations are mentioned as a type of law issued by executive branch agencies to implement and enforce statutory law.

💡Legal Rights

Legal rights are the protections, privileges, and immunities that are recognized and enforced by the law. The script emphasizes the role of law in safeguarding the rights of citizens, ensuring their freedoms and entitlements.

💡Judiciary

The judiciary is the system of courts that interprets and applies laws. The video script touches upon the judiciary's role in the legal system, particularly in the context of resolving disputes and administering justice.

💡Legal Precedent

Legal precedent is a principle or rule established in a previous legal case that is either binding or persuasive in a court's decision. The script refers to legal precedent as a foundation of common law systems, where decisions made in prior cases influence future rulings.

💡Human Rights

Human rights are the basic rights and freedoms to which all individuals are entitled. The video script discusses how laws are designed to protect human rights, ensuring that people are treated fairly and justly.

Highlights

Introduction to the concept of law and its importance in society.

Definition of law as a set of rules established by those in authority to govern behavior.

Explanation of the universal binding nature of law and its consequences for non-compliance.

Role of law in maintaining social order and acting as a foundation for society.

Discussion on how law protects citizens' rights and freedoms.

The law as a determinant of citizens' duties to assist and develop the nation.

Origin of law from authoritative sources such as state assemblies or ministers.

The formation of law based on local customs, traditions, and current societal conditions.

Potential misuse of power leading to unjust laws against the people.

The importance of understanding both the benefits and drawbacks of law for its improvement.

Classification of law based on the relationship of parties involved in legal cases.

Differentiation between private law, which governs relationships between individuals, and public law, which involves the state.

Further breakdown of public law into criminal law and administrative law.

Criminal law is defined as law concerning offenses, while civil law deals with disputes between individuals.

Explanation of the difference between substantive law and procedural law.

Substantive law defines rights and obligations, whereas procedural law outlines the methods and processes of law.

Historical perspective on the evolution of law from unwritten customs to a structured system.

The concept of legal hierarchy and the distinction between primary and subordinate laws.

Constitution as the supreme law and its role in setting fundamental principles.

Difference between royal decrees and ministerial regulations in terms of authority and process.

The role of local government in enacting local regulations within the framework of national law.

Summary of the basic understanding of law and its various aspects covered in the transcript.

Transcripts

play00:00

มีกฎหมายอยู่รอบตัวเราในหัวข้อนี้เราจะ

play00:04

มาเรียนรู้เรื่องราวเกี่ยวกับกฎหมายกัน

play00:06

ครับอันนี้คลิปนี้เราจะมารู้จักความหมาย

play00:09

ลักษณะความสำคัญและที่มาของกฎหมายจะเป็น

play00:12

ยังไงไปชมกันเลยครับสวัสดีครับพบกับครู

play00:15

ไว้นะครับเราจะเห็นว่ากฎหมายในอยู่ใกล้

play00:18

ตัวเรามากๆเลยและมีลักษณะในหลายรูปแบบเลย

play00:21

ครับเพราะว่ากฎหมายเนี่ยหมายถึงข้อกำหนด

play00:23

ที่ผู้มีอำนาจตราขึ้นเพื่อใช้บังคับบุคคล

play00:26

ให้ปฏิบัติตามเป็นการทั่วไปครับกฎหมายจะ

play00:30

มีสภาพบังคับคือใช้กับทุกคนเหมือนกัน

play00:32

อย่างเท่าเทียมกันหากมีใครฝ่าฝืนหรือไม่

play00:36

ทำตามเนี่ยก็จะมีผลกระทบตามมาซึ่งอาจจะ

play00:39

เป็นการลงโทษการบังคับให้ทำหรือว่าการ

play00:42

ห้ามทำอะไรบางอย่างครับกฎหมายที่ข้อสำคัญ

play00:46

มากในฐานะที่เป็นหนึ่งในบรรทัดฐานของ

play00:48

สังคมที่เป็นทางการครับมาทหารของสังคมก็

play00:51

เป็นสิ่งที่ช่วยจัดระเบียบสังคมให้มีความ

play00:54

สงบเรียบร้อยนั่นเองครับนอกจากนี้กฎหมาย

play00:57

ยังไม่ตกกำหนดสิทธิเสรีภาพของประชาชน

play01:00

อยู่ซอยคุ้มครองให้ประชาชนมีอิสระตามสม

play01:02

ควรและได้รับในสิ่งที่ควรจะได้รับครับนอก

play01:05

จากนี้กฎหมายยังเป็นตัวกำหนดหน้าที่ของ

play01:08

ประชาชนที่จะต้องช่วยเหลือและพัฒนาประเทศ

play01:10

ชาติด้วยครับอ่าทำมาวิเคราะห์ว่ากฎหมายนะ

play01:14

คะมีที่มาจากอะไรแล้วเราพูดรวมรวมว่ากฎ

play01:16

หมายมาจากยอดขายที่ปัดหรือผู้มีอำนาจแห่ง

play01:19

รัฐนั่นเองครับหรืออาจจะเป็นรัฐสภาหรือ

play01:23

คณะรัฐมนตรีเป็นต้นครับการที่รัฐทิปัดจะ

play01:27

เลือกเรื่องใดเรื่องหนึ่งขึ้นมาเป็นกฎ

play01:28

หมายจริงๆก็แล้วแต่ละชาธิปัตย์ครับซึ่ง

play01:31

ปกติแล้วเนี่ยเราก็จะกำหนดจากจารีต

play01:34

ประเพณีหรือวัฒนธรรมของแต่ละท้องถิ่นและ

play01:37

สากลนะครับหรือกำหนดจากสภาพที่สังคมเป็น

play01:40

อยู่ในปัจจุบันครับทั้งนี้ถ้าเกิดว่า

play01:42

รัฐทิปัดใช้อำนาจไม่เหมาะสมก็เป็นไปได้

play01:45

ว่าระถาธิปัตย์จะออกกฎหมายที่ไม่เป็นธรรม

play01:47

ต่อประชาชนก็ได้ครับแม้ว่ากฎหมายจะมีความ

play01:51

สำคัญมากเลยนะครับแต่ก็ต้องมีข้อควรระวัง

play01:54

ในการใช้เหมือนกันนะพวกเราในฐานะประชาชน

play01:57

ครับต้องเข้าใจทั้งข้อดีและก็ข้อควร

play02:00

อ่าของกฎหมายเพื่อให้กฎหมายในพัฒนาไปใน

play02:02

ทางที่ดียิ่งขึ้นไปนะครับระบบกฏหมายแล้ว

play02:05

ก็ประเภทของกฎหมายกันมาลองดูกันเลยนะครับ

play02:08

เกณฑ์ในการแบ่งประเภทของกฎหมายนะที่เราจะ

play02:11

ได้เรียนรู้กันในคลิปนี้เนี่ยมีอยู่ 2

play02:14

ประเภทหลักๆด้วยกันนะครับก็คือเกณฑ์ที่

play02:17

แบ่งตามความสัมพันธ์ของบุคคลที่เป็นคู่

play02:19

กรณีในกฎหมายแล้วก็ตามบทบาทของกฎหมายครับ

play02:23

สำหรับเรื่องต่ำความสัมพันธ์ระหว่างคู่

play02:25

กรณีเนาะเรามามาลองดูกันว่าเอ๊ะกฎหมาย

play02:29

หรือคดีรอบตัวเรามันเป็นยังไงนะครับเราพบ

play02:33

ว่าเรื่องบางเรื่องหรือคดีบางคดีเนี่ยมัน

play02:35

เป็นกติกาที่สังคมกำหนดขึ้นโดยที่ไม่มี

play02:38

รัฐบาลเข้ามาเกี่ยวข้องใดๆเนาะในขณะที่

play02:41

เรื่องบางเรื่องครับเป็นรัฐเป็นคู่กรณีใน

play02:45

กฎหมายนะครับอย่างเช่นเรื่องที่เราที่

play02:47

เกี่ยวข้องเช่นการซื้อขายนี้เรามีผู้ซื้อ

play02:49

กับผู้ขายซื้อกันอยู่สองคนรัฐบาลไม่ได้

play02:52

เกี่ยวตั้งบริษัทขึ้นมาหรือในตระกูลกฎ

play02:54

หมายแพ่งพวกนี้นะครับก็จะเป็นประเทศหนึ่ง

play02:57

ในขณะที่รัฐเป็นคู่กรณีเช่นอะไรบ้างเช่น

play02:59

กฎหมาย

play03:00

นักการเมืองหรือความผิดและการลงโทษความ

play03:03

ผิดและการลงโทษรัฐเป็นคู่กรณีเพราะว่ารัฐ

play03:05

มองว่าเรื่องนี้เป็นความผิดนะครับแล้วก็

play03:07

เลยมีตำรวจมาเกี่ยวข้องมีอัยการเข้ามา

play03:10

เกี่ยวข้องก็นั้นเรื่องเกี่ยวกับความผิด

play03:12

การลงโทษหรือว่าเรื่องของกฎหมายอาญาเนี่ย

play03:14

ก็เป็นเรื่องที่รัฐเป็นคู่กรณีในกฎหมาย

play03:18

ของเรานะครับเราจึงแบ่งประเภทกฎหมายของ

play03:20

ประเทศนี้ได้เนาะโดยเราจะได้กฎหมายที่รัฐ

play03:23

ไม่เกี่ยวข้องว่ากฎหมายเอกชนครับเอกก็คือ

play03:26

1 นั่นเองส่วนอีกประเภทหนึ่งที่รัฐเป็น

play03:29

คู่กรณีเราจะเรียกว่ากฎหมายมหาชนนั่นเอง

play03:32

ครับมาหาก็คือใหญ่แล้วก็คือเป็นเรื่องของ

play03:34

มวลชนเองครับเพราะฉะนั้นเรามีคำสองคำที่

play03:40

เคยเรียนกันมาแล้วนะครับคือกฎหมายแพ่งและ

play03:42

กฎหมายอาญานะครับเคยเรียนไปสมัยม.ต้นเรา

play03:46

มาทบทวนกันดีกว่าว่าเอ๊ะแล้วมันเหมือนก็

play03:47

ต่างกับกฎหมายมหาชนยังไงล่ะมาเริ่มจากกฎ

play03:51

หมายอาญานะครับกฎหมายอาญาคือกฎหมายที่ว่า

play03:53

ด้วยเรื่องของความผิดนะครับอันนี้เป็น

play03:55

definition กว้างๆของกฎหมายอาญาเพราะ

play03:58

ฉะนั้นกฎหมายอาญาจึง

play04:00

อีกส่วนหนึ่งของกฎหมายมหาชนครับในขณะที่

play04:02

กฎหมายแพ่งคืออะไรกฎหมายแพ่งคือกฎหมายที่

play04:04

เป็นเรื่องระหว่างบุคคลนะครับอันนี้เรา

play04:07

พูดความหมายกว้างเนาะภาษากฎหมายแพ่งจึง

play04:09

เป็นกฎหมายเอกชนประเภทหนึ่งครับเห็นช่อง

play04:12

ว่างๆอย่างงี้นะจะพอเดาออกว่าจริงๆแล้วกฎ

play04:15

หมายมหาชนไม่ได้มีแค่กฎหมายอาญาอย่าง

play04:18

เดียวเนาะแต่ยังมีตระกูลกฎหมายอื่นเช่นกฎ

play04:21

หมายปกครองนะครับกฎหมายปกครองก็คือเป็นกฎ

play04:23

หมายที่ไม่ได้พูดเรื่องความผิดเรื่องอะไร

play04:26

ขนาดนั้นแต่เป็นเรื่องของการเมืองการปก

play04:28

ครองของรัฐนะครับกฎหมายปกครองเนี่ยก็เป็น

play04:31

กฎหมายมหาชนอีกประเภทหนึ่งนะครับก็นั้น

play04:35

เลยสรุปเรื่องนี้ได้ประมาณนี้นะครับต่อไป

play04:38

ก็จะเป็นประเภทของกฎหมายตามบทบาทของกฎ

play04:42

หมายครับเรามาดูตัวอย่างของกฎหมาย 2 2

play04:46

เรื่องนี้กันอันแรกกฎหมายบอกว่าใครฝ่าฝืน

play04:49

ต้องถูกจับในกฎหมายจะเขียนอย่างนี้ไข้

play04:52

ฟื้นนะนี่ต้องถูกจับมีกฎหมายอย่างหนึ่งกฎ

play04:55

หมายเจนว่าการจับกุมได้จะต้องมีหลักฐาน

play04:58

ก่อนคันนี้ก็

play05:00

ไปไหน 2 เรื่องนี้เป็นเป็นกฎหมายคนละข้อ

play05:02

กันเนาะโดยทั่วไปแล้วครับกฎหมายเขาจะ

play05:05

เขียนข้อความ 2 ลักษณะเนี้ยไว้อยู่ในกฎ

play05:09

หมายคนละฉบับกันครับมันเป็นวิธีการของกฎ

play05:11

หมายเนาะโดยที่อะไรด้านซ้ายครับใครผัก

play05:14

เรื่องต้องถูกจับอันนี้คือด้านเนื้อหา

play05:16

นั้นเองเนื้อหาว่าความผิดมันเป็นยังไง

play05:19

เรื่องราวว่าต้องทำกันยังไงมันเป็นยังไง

play05:22

เป็นเทอมเนื้อหาครับในขณะที่เอกการจับกุม

play05:24

ได้จะต้องมีหลักฐานก่อนอันนี้เป็นเรื่อง

play05:26

ของวิธีการว่าเมื่อคนทำผิดหรือไม่ควร

play05:29

ทะเลาะกันน่ะกระบวนการทางศาลหรือกระบวน

play05:31

การจับคุมกระบวนการพยานหลักฐานเนี่ยจะ

play05:34

ต้องมีวิธีการยังไงนะครับซึ่งออกกฎหมาย

play05:37

เป็น 2 ประเภทนั่นเองนะครับกฎหมายที่เป็น

play05:40

ด้านเนื้อหาครับเราเรียกว่ากฎหมาย

play05:41

สารบัญญัติแล้วกฎหมายที่เป็นด้านวิธีการ

play05:44

ครับเราจะเรียกว่ากฎหมายวิธีสบัญญัตินะ

play05:48

ครับก็นั้นได้หลักๆแล้วเนี่ยเราจะเน้นนะ

play05:51

ครับเราจะเน้นไปที่กฎหมายสารบัญญัติกันนะ

play05:53

ครับในการเรียนระดับชั้นนี้น้องส่งกฎหมาย

play05:55

วิธีทำบัญญัติเนี่ยเราจะคุยกันเข้าๆมาก

play05:58

กว่านะครับ

play06:00

ข้อต่อไปเรามาดูเรื่องระบบกฏหมายกันนะ

play06:02

ครับเรื่องของกฎหมายเนี่ยเมื่อเรารู้สึก

play06:05

กฎหมายเราจะนึกถึงอะไรที่เป็นมาตราต่างๆ

play06:08

เป็นข้อความหรือเป็นข้อกำหนดมากมายนะครับ

play06:12

ก็เลยมีคำถามนะครับว่าการที่กฎหมายในมี

play06:15

บัญญัติไว้ชัดเจนเป็นระบบระเบียบแบบนี้มี

play06:18

เป็นมาตรามีเป็นอะไรเนี้ยสมัยก่อนมันเป็น

play06:22

แบบนี้หรือเปล่าสมัยก่อนกฎหมายเป็นแบบนี้

play06:24

หรือเปล่าก็ต้องมาลองดูกันครับว่าแต่ก่อน

play06:26

ไม่น่าใช่แบบนี้นะมาดูที่มาของกฎหมายก็

play06:29

สิ่งที่มีอยู่เดิมนะแต่ก่อนเป็นแค่จารีต

play06:31

ประเพณีนะไม่ได้เป็นลายลักษณ์อักษรใดๆนะ

play06:34

ครับดังนั้นเมื่อมีผู้ทำผิดนะครับจะมีคน

play06:36

คนหนึ่งมาตัดสินชี้ขาดเนอะซึ่งอาจจะเป็น

play06:39

ใครก็แล้วแต่ดังนั้นคำว่ากฎหมายเนี่ยจึง

play06:42

เกิดมาจากการตัดสินคดีตามจะรีบประเภทนี้

play06:45

ครับซึ่งต่างจากในสมัยนี้น้อที่ตัวตั้ง

play06:47

สิ่งที่มีอยู่เดิมนะคือกฎหมายกฎหมายมี

play06:49

อยู่ก่อนอยู่แล้วเมื่อมีผู้กระทำผิดซึ่ง

play06:52

ตัดสินไปตามกฎหมายครับดังนั้นสองประเภท

play06:55

นี้จึงเป็นมุมมองของระบบกฏหมายที่แตกต่าง

play06:58

กันเนอะเราจึงเรียกระบบ

play07:00

หน้าแรกแบบบนนะครับว่ากฎหมายจารีตประเพณี

play07:02

หรือ Common law นะครับบางคนเรียกว่ากฎ

play07:05

หมายแบบไม่มีลายลักษณ์อักษรนะครับกับกฎ

play07:08

หมายเหตุ 1 คือกฎหมายลายลักษณ์อักษรหรือ

play07:10

ซีอิ๊วรอนะครับหรือบางที่เขาเรียกว่ากฎ

play07:12

หมายที่เป็นระบบกฏหมายนั่นเองครับที่

play07:14

เรียนรู้เรื่องของลำดับศักดิ์ของกฏหมาย

play07:16

กันครับฟังแล้วบางคนเค้าจะสงสัยบอกว่าอ้ะ

play07:20

กฎหมายแล้วก็ต้องศักดิ์สิทธิ์ในกฎหมาย

play07:22

แล้วต้องยิ่งใหญ่นี้แล้วก็มันมีลำดับ

play07:25

ศักดิ์ของมันด้วยหรอนะครับนั้นเรามาดูกัน

play07:27

ครับว่าถ้าเราแบ่งคำว่าลำดับศักดิ์ของกฏ

play07:30

หมายเป็น 2 ประเภทน้อยอย่างเช่นก็คือแบ่ง

play07:32

เป็นกฎหมายแม่บทนะครับกับกฎหมายลูกหรอก

play07:36

มันจะต่างกันยังไงนะครับกฎหมายบทยกตัว

play07:39

อย่างเช่นแล้วก็นูนนั้นเป็นกฎหมายที่แบบ

play07:41

เราฟังแล้วมันดูยิ่งใหญ่มากนะครับกฎหมาย

play07:43

อื่นแล้วก็อาจจะเรียกว่ากฎหมายลูกนะครับ

play07:45

ความแตกต่างแรกครับคือกฎหมายแม่บทเนี่ย

play07:48

เป็นกฎหมายที่ครอบคลุมในเรื่องของหลักการ

play07:51

สำคัญสำคัญครับในขณะที่กฎหมายรูปเนี่ยเรา

play07:54

จะเน้นเขียนไปที่รายละเอียดต่างๆครับ

play07:56

อย่างเช่นกฎหมายฉบับนี้ครับในรัฐธรรมนูญ

play07:58

เขียนว่าประชาชนธ

play08:00

เริ่มต้นมีสิทธิที่จะได้รับการศึกษาคราว

play08:04

นี้ในนี้ครับเป็นกฎหมายบทเราจะไม่เขียน

play08:09

รายละเอียดทุกอย่างนั้นจริงๆเราต้องเขียน

play08:10

รายละเอียดเพิ่มเติมลงไปนะว่าประชาชนทุก

play08:12

คนมีสิทธิรับการศึกษาได้รับการศึกษายังไง

play08:15

ล่ะได้เรียนกี่ระดับชั้นได้เรียนวิชาอะไร

play08:17

บ้างเนี้ยมันเป็นเรื่องของรายละเอียดครับ

play08:20

ถ้าเราเขียนทุกอย่างทุกสิ่งในรัฐธรรมนูญ

play08:22

เนี่ยก็ไม่เป็นอันทำมาหากินพอดีนะแล้วมัน

play08:25

ก็คงใหญ่โตนะมากตอนนี้ก็หนามากอยู่แล้วนะ

play08:28

ครับก็นั้นเราจะเขียนเรื่องราวรายละเอียด

play08:30

ลงไปในกฎหมายลูกนั่นเองครับในขณะที่อีก

play08:33

ประเด็นนึงน้องที่เป็นความแตกต่างระหว่าง

play08:35

กฎหมายหมดกับกฎไปรู้ก็ถือว่ากฎหมายได้หมด

play08:37

จะออกโดยหน่วยงานที่ใหญ่กว่าครับเช่น

play08:40

หน่วยงานระดับประเทศเป็นตัวแทนประชาชน

play08:42

ทั้งหมดเช่นรัฐสภาก็จะมีหน้าที่ในการออก

play08:45

กฎหมายหมดในขณะที่กฎหมายลูกครับก็ให้

play08:47

หน่วยงานรับรองนะครับเช่นกระทรวงหรือ

play08:49

เทศบาลเป็นคนออกอย่างเช่นอะไรครับอย่าง

play08:52

เช่นกฎหมายฉบับนี้เขียนว่ารายชื่อโรคติด

play08:55

ต่อที่ร้ายแรงเหมือนคอวี 19 เนี้ยเป็นไป

play08:58

ตามที่กำหนดในกฎ

play09:00

ดูดวงครับหมายความว่ากฎหมายเนี่ยจะมีกฎ

play09:03

หมายแม่บทที่บอกว่าเนี่ยถ้ามีโรคติดต่อ

play09:05

เนี่ยต่างๆเนี่ยนะขอให้มีการควบคุมกัดกัน

play09:09

ดูแลประชาชนด้วยแต่จะไม่เห็นชื่อโรคติด

play09:12

ต่อไปทั้งหมดครับเพราะว่าถ้าเขียนไปหมด

play09:14

เนี่ยกลายเป็นว่าผู้ที่ออกกฎหมายไม่หมด

play09:17

คือคือประชาชนตัวแทนประชาทั้งหมดเขาไม่

play09:20

ได้มีความรู้นะครับหรือว่าการอัพเดทที่

play09:23

มากพอเนอะเลยให้หน่วยงานระดับรองเช่น

play09:26

กระทรวงเนี่ยก็เลยให้ออกในกฎกระทรวงเพื่อ

play09:28

ให้เป็นการออกรายละเอียดเพิ่มเติมนะครับ

play09:31

หรือให้ผู้ที่เกี่ยวข้องในเป็นคนออกใน

play09:34

เรื่องเฉพาะลงไปครับ

play09:36

มีกฎหมายอันแรกก็คือกฎหมายแม่บทนะครับกฎ

play09:41

หมายแม่บทฉบับแรกน้อยที่ใหญ่ที่สุดก็คือ

play09:43

กฎหมายรัฐธรรมนูญนะครับเราย่อว่ารอเรือธง

play09:47

นอหนูจุดนะครับเดี๋ยวต้องพูดเรื่องตัวย่อ

play09:49

ด้วยนะเพราะว่ามีความสับสนเล็กน้อยนะครับ

play09:51

พ่อแม่ไม่รู้จะเขียนหลักการในภาพรวมทั้ง

play09:54

หมดครับและจริงๆแล้วเนี่ยยกเลิกไม่ได้

play09:57

เนาะในทางหลักการนะครับก็ยกเลิกไม่ได้แต่

play09:59

เราแก้ไขได้นะครับการแก้ไขนี้จะต้องผ่าน

play10:02

รัฐสภานะครับแต่ถ้าเกิดเหตุการณ์ที่ต้อง

play10:04

ร่างใหม่โดยทั่วไปแล้วเขาก็จะผ่าน

play10:07

ประชามติสังเกตว่ากฎหมายนี้เป็นกฎหมาย

play10:08

หลักการใหญ่ที่สุดเพราะฉะนั้นการแก้ต้อง

play10:11

ผ่านรัฐสภาซึ่งเป็นตัวแทนประชาชนทั้งหมด

play10:13

หรือทางใหม่ต้องผ่านประชามติซึ่งเป็นตุ๊

play10:16

ประชาชนทุกคนเป็นคนโหวตเองเลยนะครับส่วน

play10:19

ที่ 2 ครับคือพระราชบัญญัติพระราชบัญญัติ

play10:21

จะเป็นหลักการขนาดใหญ่เหมือนกันแต่เป็น

play10:24

หลักการเฉพาะอย่างฉันเมื่อกี้บอกว่าประชา

play10:25

ชนมีสิทธิได้รับการศึกษาในพระราชบัญญัติ

play10:28

ก็จะเขียนพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ

play10:30

ออกมาที่เขียนในเรื่องของหลักการด้านการ

play10:33

ศึกษาโดยละเอียดโดย

play10:36

ลดลงไปก่อนละธรรมนูญมากขึ้นนะครับเพราะ

play10:39

ฉะนั้นการเขียนพระราชบัญญัติครับต้องผ่าน

play10:42

รัฐสภานะเพื่อออกแก้ไขเพิ่มเติม you หรือ

play10:45

ยกเลิกซึ่งพระราชบัญญัติก็ต้องไม่ขัดแย้ง

play10:48

กับรัฐธรรมนูญนั้นเองนะครับและมีเกร็ด

play10:52

ความรู้นิดหน่อยนะครับสุวะประมวลกฎหมายก็

play10:54

ถือว่าเป็นกฎหมายในลำดับศักดิ์นี้เช่น

play10:56

เดียวกันนะครับอ่ะ

play10:58

คะส่วนอีกประเภทหนึ่งนะครับคือพระ

play11:00

ราชกำหนดครับพระราชกำหนดจริงๆแล้วจริงๆนะ

play11:03

แอบเหมือนกับพรบทุกอย่างเลยเหมือนพระ

play11:06

ราชบัญญัติทุกอย่างเลยแต่แค่ผู้ออกเป็น

play11:08

คณะรัฐมนตรีนะครับและจริงๆแล้วเนี่ยถ้า

play11:11

เป็นพระธรรมเนี่ยต้องผ่านรัฐสภาเนอะคณะ

play11:14

ตำบลตีนไม่ใช่ตัวแทนประชาชนนะครับเป็นผู้

play11:16

ที่อยู่ในฝ่ายบริหารเฉยๆในขณะที่รัฐสภา

play11:19

เนี่ยเป็นตัวแทนประชาชนที่แท้จริงก็นั้น

play11:21

การออกโดยคณะดนตรีนะจริงๆแล้วสักจะไม่

play11:24

เท่าแต่ว่ามีเหตุผลในบางทีที่ทำให้ออกใน

play11:28

ภาวะเร่งด่วนครับคราวนี้ถ้าเกิดว่าอยากจะ

play11:30

บังคับใช้เนอะให้มีสักเท่ากับพระ

play11:33

ราชบัญญัติเนี่ยก็ต้องกลับไปผ่านรัฐสภา

play11:36

อีกครั้งเพื่อให้บังคับใช้ได้ต่อไปนะครับ

play11:38

แต่ก็จะถือว่าชื่อของมันก็คือพระราชกำหนด

play11:43

อยู่ดีนะครับเพื่อเป็นการบอกชื่อว่าอ่า

play11:45

ตอนนั้นน่ะเขารีบออกในภาวะเร่งด่วนนั่น

play11:47

เองแสดงว่าจริงๆแล้วพระราชบัญญัติและพระ

play11:49

ราชกำหนดมีศักดิ์ศรีที่เท่ากันทุกประการ

play11:51

นะครับแต่แค่ชื่อบ่งบอกว่าในตอนแรกเนี่ย

play11:54

ออกโดยใครนั่นเองครับ

play11:56

ๆแล้วกฎหมายลูกนะครับเป็นส่วนต่อมาเนาะกฎ

play12:00

หมายรูปเนี่ยมีอยู่ด้วยกัน 3 อย่างนี้

play12:03

ด้วยกันนะครับคือพระราชกิจฎีกานะครับวัน

play12:05

ที่ 2 เป็นชุดเลยกฎกระทรวงข้อบังคับ

play12:07

ระเบียบประกาศคำสั่งและสุดท้ายคือข้อ

play12:09

บัญญัติเทศบัญญัติครับ 3 ชื่อนี้หลักๆ

play12:11

ต่างกันที่ผู้ออกนะครับพระกฤษฎีกาออกโดย

play12:15

คณะมนตรีนะครับเสร็จกลางทั้งหมดออกโดยนัก

play12:18

ดนตรีว่ากันกระทรวงและก็ข้อบัญญัติ

play12:20

เทศบัญญัติออกโดยสภาขององค์กรปกครองส่วน

play12:23

ท้องถิ่นหรือฝ่ายนิติบัญญัติขององค์กรปก

play12:25

ครองส่วนท้องถิ่นนั้นเองนะครับซึ่ง 3

play12:28

ส่วนนี้เนี้ยก็จะเป็นกฎหมายที่มีกฎหมายบท

play12:33

ให้อำนาจไว้นะครับอย่างเช่นว่ามีพระ

play12:35

ราชบัญญัติเนี่ยที่เขาบอกว่าอย่างเรื่อง

play12:37

โรคติดต่อเมื่อกี้ถ้าจำได้นะครับในกฎหมาย

play12:39

อาจจะเขียนว่าให้ไปกำหนดรายละเอียดเพิ่ม

play12:41

เติมโดยประกาศเป็นประกาศเขียนเป็นกฎ

play12:45

กระทรวงเป็นพระราชกฤษฎีกาหรือเขียนเป็นคำ

play12:49

สั่งนะครับหรือว่าถ้าเป็นข้อบัญญัติหรือ

play12:51

เทศบัญญัติเนี่ยก็เป็นกฎหมายที่ออกโดย

play12:53

องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นนะครับโดยที่มี

play12:56

เต็มไปหมดเนี่ยครอบคลุมไว้เช่นเดียวกันนะ

play12:59

ครับทั้งหมดนี้ก็เป็นเรื่องของลำดับ

play13:02

ศักดิ์ของกฏหมายนะคะที่น้องๆน่าจะได้พบ

play13:05

เจอกันในข่าวสารชีวิตประจำวันแน่นอนเลย

play13:08

ครับทั้งหมดนี้ก็เป็นภาพรวมนะครับของความ

play13:11

รู้พื้นฐานเกี่ยวกับกฎหมายนะครับอ่ะ

Rate This

5.0 / 5 (0 votes)

Related Tags
Legal EducationLaw EnforcementSocial OrderCitizen RightsLegal SystemConstitutional LawCriminal JusticeLegal PrinciplesJudicial ProcessSocietal Rules